วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552

แคะข้อมูลดาวเทียม.."ซูเปอร์เมอโลร์" หายนะของจริง

แคะข้อมูลดาวเทียม..“ซูเปอร์เมอโลร์” หายนะของจริง
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 8 ตุลาคม 2552 15:06 น.

ภาพ จำลองเส้นทางการเคลื่อนตัว ใช้ข้อมูลที่แกะออกจากรายงานของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา MTSAT โดยสำนัก TSR แสดงให้เห็นขนาดมหึมาของซูเปอร์ไต้ฝุ่นเมอโลร์ (Melor) จากย่านแปซิฟิกตะวันตก ย้อนขึ้นเหนือก่อนจะตีวงโค้งอย่างงดงาม เข้าถล่มเกาะตอนกลางของญี่ปุ่นในขณะนี้ ส่วนเวียดนามยังเกาะติดพายุป้าหม่า อย่างไม่กระพริบตา ขณะอาละวาดอยู่เหนือเกาะฟิลิปปินส์อีกรอบหนึ่ง
       
ASTVผู้จัดการออนไลน์ -- ภาพจำลองเส้นทางการเคลื่อนตัวของไต้ฝุ่นเมอโลร์ (Melor) ที่จัดทำและเผยแพร่โดยองค์การจับตาความเสี่ยงจากพายุเขตร้อน (Tropical Storm Risk) วันพุธ (7 ต.ค.) ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นขนาดอันใหญ่โตมหึมาของซูเปอร์ไต้ฝุ่นลูกนี้ ขณะเคลื่อนตัวเข้าสู่ตอนกลางของญี่ปุ่น
       
       สื่อต่างๆ ในเวียดนาม ได้ติดตามพายุลูกนี้แบบเกาะติด ขณะที่ทางการยังสั่งให้ทุกภาคส่วนเฝ้าระวังพายุโซนร้อนป้าหม่า (Parma) ที่ยังคงทำให้เกิดฝนตกหนักเหนือเกาะฟิลิปปินส์ และ ยังมีโอกาสที่บ่ายหน้าสู่ทะเลจีนใต้ครั้งใหม่ใน 24 ชั่วโมงข้างหน้า
       
       พายุป้าหม่าอ่อนกำลังลงเต็มที แต่ก็ยังอิทธิฤทธิ์ทำให้เกิดฝนตกกระจายคลุมอาณาบริเวณกว้าง ตั้งแต่ภาคเหนือลงไปจนถึงภาคกลางของเกาะลูซอน สำนักพยากรณ์ TSR กล่าวว่า ถ้าหากสามารถทวีความเร็วศูนย์กลาง กลับมาเข้มแข็งขึ้นได้อีก ป้าหม่าอาจจะหันหัวสู่ทะเลจีนใต้ในคืนวันพฤหัสบดีนี้
       
       ตามข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา MTSAT ที่บันทึกโดย TSR “เมอโลร์” กับ “ป้าหม่า” ก่อตัวขึ้นเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในย่านแปซิฟิกกลางกว่า 20 วันก่อน อยู่ห่างจากหมู่เกาะฟิลิปปินส์กว่า 1,000-2,000 กม.
       
       เมื่อพัฒนาขึ้นเป็นไต้ฝุ่น พายุทั้งสองลูกนี้แทบจะไม่ได้ส่งอิทธิพลต่อกันเลย แต่ต่างก็มีเส้นทางเคลื่อนตัวของตัวเอง ซึ่งเป็นเรื่องที่นักอุตุนิยมวิทยาเวียดนาม กล่าวว่า เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่บ่อยนัก


ภาพ จำลองจากข้อมูลดาวเทียมขององค์การนาซ่า (NASA) พายุทั้งสองลูกมีชีวิตยืนยาวมากว่า 2 สัปดาห์แล้ว เมอโลร์กำลังพัดกระหน่ำเหนือหมูเกาะญี่ปุ่น ส่วนป้าหม่ายังหันรีหันขว้างนำความชุ่มฉ่ำกลับไปยังหมู่เกาะฟิลิปปินส์อีก ครั้งหนึ่งในสัปดาห์นี้
       เมอโลร์ ค่อยทวีความเร็วลมศูนย์กลางขึ้นเป็นระดับพายุโซนร้อน ขณะพัดผ่านหมู่เกาะมารีญาส (Marinas) ก่อนจะทวีความแรงขึ้นเป็นไต้ฝุ่นระดับ 5 (Category 5) ขณะอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก C5 เป็นระดับสูงสุดของพายุเขตร้อน ที่มีความเร็วลมศูนย์กลาง 250 กม./ชม.ขึ้นไป ซึ่งจะทำลายทุกสิ่งทุกอย่างที่พัดผ่านจนราบพนาสูญ และ นี่คือ "ซูเปอร์ไต้ฝุ่น" อย่างแท้จริง
       
       แต่โชคดี - ตามข้อมูลของ TSR เมอโลร์ลดความเร็วศูนย์กลางลงสู่ระดับ C2 (154-177 กม./ชม.) ก่อนจะเข้าถึงเกาะญี่ปุ่น และ ลดลงถึงระดับ C1 (119-153 กม./ชม.) ก่อนทะลวงเข้าเกาะฮอนชู (Honshu) ในตอนกลางอันเป็นที่ตั้งนครโอซากา (Osaka) และ นาโงยา (Nagoya)
       
       พายุป้าหม่า กับ พายุเมอโลร์ ก่อตัวขึ้นในช่วงห่างไม่กี่วันหลังไต้ฝุ่นเกดสะหนา (Ketsana) เคลื่อนเข้าสู่ทะเลจีนใต้ พัดเข้าเวียดนามในวันที่ 29 ก.ย.สร้างความเสียหายเกือบ 900 ล้านดอลลาร์มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 164 คน
       
       ในวันต่อมาพายุเกดสะหนายังพัดเลยเข้าสร้างความเสียหายแก่ชีวิตและ ทรัพย์สินของผู้คนอีกหลายสิบในลาวและกัมพูชารวมกันอีกเกือบ 50 คนในวันต่อมา


เวียดนามยังเฝ้าจับตาบทบาทกับลีลาของพายุป้าหม่าอย่างไม่กระพริบ ตราบใดที่ยังหมุนอยู่ ทะเลจีนใต้ก็ยังไม่พ้นขีดอันตราย
http://www.manager.co.th/IndoChina/ViewNews.aspx?NewsID=9520000119146

--
ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
blog
http://www.thaifreedompress.blogspot.com/
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.ksmecare.com/docSeminar/520902031848987.pdf
http://www-01.ibm.com/software/th/events/lotusliveevent/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm

วันอาทิตย์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ข่าวโลกร้อน 4 ต.ค. (ความคืบหน้าในเวทีเจรจายูเอ็น)



 

ครึ่งทาง  การเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (4 ต.ค.2552) 

  1. ก่อนการเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (เพื่อสำหรับทำความเข้าใจเร็ว ๆ ถ้าจะใช้งานต้องปรับคำ)
 
ข้อตกลงนานาชาติ ความหมายอย่างเร็ว ๆ 
อนุสัญญาฯ โลกร้อน 2535

UNFCCC

-โลกร้อนวิกฤตแล้ว นักวิทยาศาสตร์ยืนยัน

-มีผลกระทบหนักและจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ต่อทั้งโลกและคน

-เกิดเพราะเราปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงขึ้นเรื่อยๆ

-เราทั้งโลกตกลงจะร่วมกันหยุดยั้งแก้ไขวิกฤตนี้ โดยมีหลักการที่สำคัญคือความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่แตกต่าง และตามศักยภาพและความสามารถที่มี

พิธีสารเกียวโต 2540

Kyoto Protocol

-ด้วยการตั้งเป้าลดการปล่อยก๊าซฯ 5.2 %จากระดับ 2533 ภายในปี 2551-2555

-ให้ประเทศพัฒนาแล้ว (Annex I) ต้องลดก๊าซก่อนเป็นหลัก(เพราะปล่อยมากในอดีตเป็นตัวการใหญ่ต่อวิกฤตตอนนี้)

-มีกลไกช่วยลดการปล่อย CDM, JI, ET

-เนื้อหา 4 ประเด็นหลัก การลดก๊าซ (mitigation) การปรับตัวรับมือต่อโลกร้อน (Adaptation) กลไกทางการเงินที่จะช่วยเร่งการลด (Finance)และการช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีและสร้างความเข้มแข็ง (Technology Transfer & Capacity Building)

แผนที่นำทางบาหลี  2550

Bali Road Map

- แนวทางการเจรจาเพื่อนำไปสู่ข้อตกลงใหม่หลังช่วงพันธกรณีแรกของพิธีสารเกียวโดตจบลง

- CDM, JI, ET ได้ผลไหม มีปัญหาไง ปรับแก้ไง

-แล้วหลังปี 2555 จะทำไง (ตั้งเป้าใหม่ หรือจะหาข้อตกลงใหม่)

-จะคุยกันต่อนะกำหนด 5 ครั้งเฉพาะในปี 52 เพื่อสรุปให้ได้ที่โคเปนเฮเกน

-ตั้ง 2 คณะทำงานรองรับ  (AWG)

คณะทำงานเรื่องพิธีสารเกียวโต

(AWG-KP)

คณะทำงานดูทิศทางระยะยาว

(AWG-LCA แบ่งงานออกเป็น 5 ส่วน)

-วิสัยทัศน์ระยะยาว

-การปรับตัวรับโลกร้อน

-การลดก๊าซ

-การเงิน

-เทคโนโลยีและการเสริมสร้างศักยภาพ

-AWG-KP ดูว่าจะทำไงกับพิธีสารเกียวโตดี ใช้ต่อแล้วตั้งเป้าเพิ่ม หรือหาพิธีสาร(ข้อตกลง)ใหม่เลย  

-AWG-LCA ดูว่าประเด็นหลัก 5 ด้าน ควรจะทำอย่างไรดี

เวทีเจรจาโลกร้อน 2551 -2 คณะทำงาน AWG เจรจา ต่อเนื่อง เพื่อรับข้อเสนอของแต่ละภาคี แล้วรวบรวมเป็น text
เวทีเจรจาโลกร้อน 2552 บอนน์ 1 - เจรจาต่อ จนสามารถสรุปเอกสารที่บรรจุประเด็นที่ทุกคน  (ประเทศภาคีสมาชิก) ต้องการใส่เสร็จ อันไหนที่เห็นต่างกันให้วงเล็บทิ้งไว้ก่อน
บอนน์ 2
บอนน์ 3
กรุงเทพ ***(กันยายน-ตุลาคม) - เอาเอกสารที่เต็มด้วยวงเล็บดังกล่าวมาเริ่มเจรจากันว่าจะถอดวงเล็บแล้วใช้คำไหน  ให้ได้มากที่สุด  เหลือหน้าน้อยที่สุด
บาร์เซโลน่า -เจรจา  ถอดวงเล็บต่อ และพยายามให้เหลือหน้าน้อยสุด สรุปโดยไม่มีวงเล็บเหลือในจำนวนหน้าน้อยสุด สำหรับการตัดสินใจ
โคเปนเฮเกน (ธันวาคม) ผู้นำประเทศมารวมกันดูเอกสารจากบาร์เซโลน่า และตัดสินใจว่า จะลดวิกฤตโลกร้อนหลังหมดพันธะสัญญาเกียวโตปี 2555 จะทำไง (ถ้าใช้พิธีสารเกียวโตต่อระยะสองจะตั้งเป้าเท่าไร ใครจะทำ ใช้กลไกอะไร หรือไม่เอาจะหาพิธีสารใหม่แทน)

*** ดูรายละเอียดข้อ 2 
 
 

2. เวทีเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ – จากวันแรก ถึงครึ่งทาง (แบ่งห้องเจรจาออกเป็น 6 ส่วนหลัก) 

 
 
 
ความคืบหน้า 
 
 
การเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (28 ก.ย.-9 ต.ค. 52)
คณะทำงานด้าน

พิธีสารเกียวโต 

AWG-KP

คณะทำงาน

ด้านทิศทางระยะยาว 

AWG-LCA

วิสัยทัศน์

Shared vision

การปรับตัวรับมือ

Adaptation

การลดก๊าซ

Mitigation

กลไกการเงิน

Finance

ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ

Tech Transfer & Capacity Building

จำนวนหน้าเอกสารเจรจา  28 ก.ย. - 15 36 63 22 34
4 ต.ค. - 15 36 63 22 34
ปริมาณวงเล็บ 

(1-5 ดาวตามความมาก)

28 ก.ย. - **** **** ***** *** ****
4 ต.ค. - **** **** ***** *** ****
ประเด็นเนื้อหาที่คาดว่าต้องเจรจาหนัก 28 ก.ย. -ตัวเลขปริมาณการลดของประเทศพัฒนาแล้วระยะกลาง (2020) และระยะยาว (2050) ใช้ปีอะไรเป็นปีฐาน ระยะเวลาของพัธกรณี ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน
4 ต.ค. -ตัวเลขปริมาณการลดของประเทศพัฒนาแล้วระยะกลาง  (2020) และระยะยาว (2050) ใช้ปีอะไรเป็นปีฐาน ระยะเวลาของพัธกรณี ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน
การดำเนินการหลัก  ๆ ตั้งแต่ที่ผ่านมา (ดูข้อ 3 ประกอบ) -ปริมาณการลดการปล่อยในช่วงพันธกรณีจากประเทศพัฒนาแล้ว

Mandate ของการเจรจา ซึ่งต้องไม่รวมใช่การผลักดันให้ประเทศกำลังพัฒนามามีส่วนร่วมในการลดแบบภาคบังคับด้วย

ความพยายามจากประเทศพัฒนาแล้วเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาที่ปล่อสูงมาร่วมลดการปล่อยด้วย

การกำหนดเป้าหมายรวมในการลดการปล่อย  ทั้งในระดับความเข้มข้นของก๊าซ  และอุณหภูมิ

ความเร่งด่วนในการดำเนินการลด

การส่งเสริมบรรยากาศในการเอื้อให้ประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการลดและการปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวทางในการดำเนินการเพื่อการปรับตัว

การสนับสนุนอย่างเร่งด่วนในเรื่องการปรับตัว  ทั้งในเรื่อง Technology และ การเงิน

การเงินจะต้องเพิ่มเติมจากที่เป็นอยู่  และเพิ่มเติมจาก ODA

การประเมินผลจะประเมินอะไร อย่างไร เช่นจะประเมินความก้าวหน้าในกิจกรรมการปรับตัว หรือ ประเมินการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วที่ให้เพื่อการปรับตัว

การส่วเสริมด้านสถาบันองค์กรเพื่อดูแลงานด้านการปรับตัว ทั้งในระดับประเทศ  ภูมิภาค และระหว่างประเทศ

ประเด็นความเชื่อมโยงผลกระทบจากโลกร้อนและความเสี่ยงจากภัยพิบัติธรรมชาติ

ใช้วิทยาศาสตร์เป็นตัวกำหนดระดับการปลดปล่อยที่คาดหวังโดยรวมของประเทศ Annex I โดยเสนอเป้าหมายของ aggregate ในระดับ 40% ภายในปี 2020 โดยคิดจากปี 1990 เป็นปีฐาน

การเจรจาควรตั้งอยู่บนความรับผิดชอบในอดีต (historical responsibility) และหลักการรับผิดชอบร่วมกันแต่ในระดับที่แตกต่าง

ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการลดของภาคเกษตรและภาคการบิน

REDD การนำ REDD เป็นส่วนหนึ่งของ NAMA หรือไม่

การพิจารณา  ระดับอ้างอิง และ MRV ทำที่ Copenhagen?

การใช้เทคโนโลยี มาตรการการดำเนินงานในการลดGHGs ของประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา การศึกษาวิจัย การพัฒนาศักยภาพ และกลไกทั้งด้านการตลาด และที่ไม่ใช่การตลาด ในการลดการปล่อยก๊าซในแต่ละภาคส่วน

เรื่อง  sectoral approach ได้ให้ความสำคัญในภาคเกษตรกรรม และภาคขนส่งทางอากาศและทางทะเล

การเร่งรัดด้านกลไกทา

การเงินทั้งเพือการลดการปล่อยและการปรับตัว จำนวน การตรวจวัด

เงินต้องมาจากภาครัฐเป็นหลัก

การกำจัดอุปสรรคต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี เช่น IPRs

ความร่วมมือและเสริมสร้างศักยภาพทั้งในเรื่องการดำเนินการทั้งด้านการลดการปล่อย  การปรับตัว และการประเมินศักยภาพ

การมุ่งสู่การเติบโตแบบคาร์บอนต่ำ (Low carbon growth)

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

3. ประเด็นการเจรจาหลัก 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 

 
1.คณะทำงานด้านพิธีสารเกียวโต
-ปริมาณการลดการปล่อยในช่วงพันธกรณีจากประเทศพัฒนาแล้ว

-Mandate ของการเจรจา ซึ่งต้องไม่รวมการผลักดันให้ประเทศกำลังพัฒนามามีส่วนร่วมในการลดแบบภาคบังคับด้วย

-ความพยายามจากประเทศพัฒนาแล้วเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาที่ปล่อสูงมาร่วมลดการปล่อยด้วย

2. วิสัยทัศน์

Shared vision

-การกำหนดเป้าหมายรวมในการลดการปล่อย ทั้งในระดับความเข้มข้นของก๊าซ และอุณหภูมิ

-ความเร่งด่วนในการดำเนินการลด

-การส่งเสริมบรรยากาศในการเอื้อให้ประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการลดและการปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. การปรับตัวรับมือ

Adaptation

-แนวทางในการดำเนินการเพื่อการปรับตัว

-การสนับสนุนอย่างเร่งด่วนในเรื่องการปรับตัว ทั้งในเรื่อง Technology และ การเงิน

-การเงินจะต้องเพิ่มเติมจากที่เป็นอยู่ และเพิ่มเติมจาก ODA

-การประเมินผลจะประเมินอะไร อย่างไร เช่นจะประเมินความก้าวหน้าในกิจกรรมการปรับตัว หรือ ประเมินการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วที่ให้เพื่อการปรับตัว

-การส่งเสริมด้านสถาบันองค์กรเพื่อดูแลงานด้านการปรับตัว ทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และระหว่างประเทศ

-ประเด็นความเชื่อมโยงผลกระทบจากโลกร้อนและความเสี่ยงจากภัยพิบัติธรรมชาติ

4. การลดก๊าซ

Mitigation

-ใช้วิทยาศาสตร์เป็นตัวกำหนดระดับการปลดปล่อยที่คาดหวังโดยรวมของประเทศ Annex I โดยเสนอเป้าหมายของ aggregate ในระดับ 40% ภายในปี 2020 โดยคิดจากปี 1990 เป็นปีฐาน

-การเจรจาควรตั้งอยู่บนความรับผิดชอบในอดีต (historical responsibility) และหลักการรับผิดชอบร่วมกันแต่ในระดับที่แตกต่าง

ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการลดของภาคเกษตรและภาคการบิน

-REDD การนำ REDD เป็นส่วนหนึ่งของ NAMA หรือไม่

-การพิจารณา ระดับอ้างอิง และ MRV ทำที่ Copenhagen?

-การใช้เทคโนโลยี มาตรการการดำเนินงานในการลดGHGs ของประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา การศึกษาวิจัย การพัฒนาศักยภาพ และกลไกทั้งด้านการตลาด และที่ไม่ใช่การตลาด ในการลดการปล่อยก๊าซในแต่ละภาคส่วน

-เรื่อง sectoral approach ได้ให้ความสำคัญในภาคเกษตรกรรม และภาคขนส่งทางอากาศและทางทะเล

5. กลไกการเงิน

Finance

-การเร่งรัดด้านกลไกทางการเงินทั้งเพือการลดการปล่อยและการปรับตัว จำนวน การตรวจวัด

-เงินต้องมาจากภาครัฐเป็นหลัก

6. ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ

Tech Transfer & Capacity Building

-การกำจัดอุปสรรคต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี เช่น ทรัพย์สินทางปัญญา

-ความร่วมมือและเสริมสร้างศักยภาพทั้งในเรื่องการดำเนินการทั้งด้านการลดการปล่อย การปรับตัว และการประเมินศักยภาพ

-การมุ่งสู่การเติบโตแบบคาร์บอนต่ำ (Low carbon growth)





 
From: sataya phongsasumitr <satayap@hotmail.com>
Date: ต.ค. 4, 2009 4:32 หลังเที่ยง
Subject: ข่าวโลกร้อน 4 ต.ค. (ความคืบหน้าในเวทีเจรจายูเอ็น)
To: 
 

ครึ่งทาง การเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (4 ต.ค.2552)

 

  1. ก่อนการเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (เพื่อสำหรับทำความเข้าใจเร็ว ๆ ถ้าจะใช้งานต้องปรับคำ)

 

ข้อตกลงนานาชาติ

ความหมายอย่างเร็ว ๆ

อนุสัญญาฯ โลกร้อน 2535

UNFCCC

 

-โลกร้อนวิกฤตแล้ว นักวิทยาศาสตร์ยืนยัน

-มีผลกระทบหนักและจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ต่อทั้งโลกและคน

-เกิดเพราะเราปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงขึ้นเรื่อยๆ

-เราทั้งโลกตกลงจะร่วมกันหยุดยั้งแก้ไขวิกฤตนี้ โดยมีหลักการที่สำคัญคือความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่แตกต่าง และตามศักยภาพและความสามารถที่มี

พิธีสารเกียวโต 2540

Kyoto Protocol

-ด้วยการตั้งเป้าลดการปล่อยก๊าซฯ 5.2 %จากระดับ 2533 ภายในปี 2551-2555

-ให้ประเทศพัฒนาแล้ว (Annex I) ต้องลดก๊าซก่อนเป็นหลัก(เพราะปล่อยมากในอดีตเป็นตัวการใหญ่ต่อวิกฤตตอนนี้)

-มีกลไกช่วยลดการปล่อย CDM, JI, ET

-เนื้อหา 4 ประเด็นหลัก การลดก๊าซ (mitigation) การปรับตัวรับมือต่อโลกร้อน (Adaptation) กลไกทางการเงินที่จะช่วยเร่งการลด (Finance)และการช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีและสร้างความเข้มแข็ง (Technology Transfer & Capacity Building)

แผนที่นำทางบาหลี  2550

Bali Road Map

- แนวทางการเจรจาเพื่อนำไปสู่ข้อตกลงใหม่หลังช่วงพันธกรณีแรกของพิธีสารเกียวโดตจบลง

- CDM, JI, ET ได้ผลไหม มีปัญหาไง ปรับแก้ไง

-แล้วหลังปี 2555 จะทำไง (ตั้งเป้าใหม่ หรือจะหาข้อตกลงใหม่)

-จะคุยกันต่อนะกำหนด 5 ครั้งเฉพาะในปี 52 เพื่อสรุปให้ได้ที่โคเปนเฮเกน

-ตั้ง 2 คณะทำงานรองรับ (AWG)

คณะทำงานเรื่องพิธีสารเกียวโต

(AWG-KP)

คณะทำงานดูทิศทางระยะยาว

(AWG-LCA แบ่งงานออกเป็น 5 ส่วน)

-วิสัยทัศน์ระยะยาว

-การปรับตัวรับโลกร้อน

-การลดก๊าซ

-การเงิน

-เทคโนโลยีและการเสริมสร้างศักยภาพ

-AWG-KP ดูว่าจะทำไงกับพิธีสารเกียวโตดี ใช้ต่อแล้วตั้งเป้าเพิ่ม หรือหาพิธีสาร(ข้อตกลง)ใหม่เลย

 

-AWG-LCA ดูว่าประเด็นหลัก 5 ด้าน ควรจะทำอย่างไรดี

เวทีเจรจาโลกร้อน 2551

-2 คณะทำงาน AWG เจรจา ต่อเนื่อง เพื่อรับข้อเสนอของแต่ละภาคี แล้วรวบรวมเป็น text

เวทีเจรจาโลกร้อน 2552

บอนน์ 1

- เจรจาต่อ จนสามารถสรุปเอกสารที่บรรจุประเด็นที่ทุกคน (ประเทศภาคีสมาชิก) ต้องการใส่เสร็จ อันไหนที่เห็นต่างกันให้วงเล็บทิ้งไว้ก่อน

บอนน์ 2

บอนน์ 3

กรุงเทพ ***(กันยายน-ตุลาคม)

- เอาเอกสารที่เต็มด้วยวงเล็บดังกล่าวมาเริ่มเจรจากันว่าจะถอดวงเล็บแล้วใช้คำไหน ให้ได้มากที่สุด เหลือหน้าน้อยที่สุด

บาร์เซโลน่า

-เจรจา ถอดวงเล็บต่อ และพยายามให้เหลือหน้าน้อยสุด สรุปโดยไม่มีวงเล็บเหลือในจำนวนหน้าน้อยสุด สำหรับการตัดสินใจ

โคเปนเฮเกน (ธันวาคม)

ผู้นำประเทศมารวมกันดูเอกสารจากบาร์เซโลน่า และตัดสินใจว่า จะลดวิกฤตโลกร้อนหลังหมดพันธะสัญญาเกียวโตปี 2555 จะทำไง (ถ้าใช้พิธีสารเกียวโตต่อระยะสองจะตั้งเป้าเท่าไร ใครจะทำ ใช้กลไกอะไร หรือไม่เอาจะหาพิธีสารใหม่แทน)

*** ดูรายละเอียดข้อ 2

 

 

 

2. เวทีเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ จากวันแรก ถึงครึ่งทาง (แบ่งห้องเจรจาออกเป็น 6 ส่วนหลัก)

 

 

 

 

ความคืบหน้า

 

 

 

 

การเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (28 ก.ย.-9 ต.ค. 52)

 

คณะทำงานด้าน

พิธีสารเกียวโต

 

AWG-KP

 

คณะทำงาน

ด้านทิศทางระยะยาว

 

AWG-LCA

วิสัยทัศน์

Shared vision

การปรับตัวรับมือ

Adaptation

การลดก๊าซ

Mitigation

กลไกการเงิน

Finance

ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ

Tech Transfer & Capacity Building

จำนวนหน้าเอกสารเจรจา

28 ก.ย.

-

15

36

63

22

34

4 ต.ค.

-

15

36

63

22

34

ปริมาณวงเล็บ

(1-5 ดาวตามความมาก)

28 ก.ย.

 

-

****

****

*****

***

****

4 ต.ค.

 

-

****

****

*****

***

****

ประเด็นเนื้อหาที่คาดว่าต้องเจรจาหนัก

28 ก.ย.

 

-ตัวเลขปริมาณการลดของประเทศพัฒนาแล้วระยะกลาง (2020) และระยะยาว (2050) ใช้ปีอะไรเป็นปีฐาน ระยะเวลาของพัธกรณี

 

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

4 ต.ค.

-ตัวเลขปริมาณการลดของประเทศพัฒนาแล้วระยะกลาง (2020) และระยะยาว (2050) ใช้ปีอะไรเป็นปีฐาน ระยะเวลาของพัธกรณี

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

การดำเนินการหลัก ๆ ตั้งแต่ที่ผ่านมา (ดูข้อ 3 ประกอบ)

-ปริมาณการลดการปล่อยในช่วงพันธกรณีจากประเทศพัฒนาแล้ว

Mandate ของการเจรจา ซึ่งต้องไม่รวมใช่การผลักดันให้ประเทศกำลังพัฒนามามีส่วนร่วมในการลดแบบภาคบังคับด้วย

ความพยายามจากประเทศพัฒนาแล้วเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาที่ปล่อสูงมาร่วมลดการปล่อยด้วย

 

การกำหนดเป้าหมายรวมในการลดการปล่อย ทั้งในระดับความเข้มข้นของก๊าซ และอุณหภูมิ

ความเร่งด่วนในการดำเนินการลด

การส่งเสริมบรรยากาศในการเอื้อให้ประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการลดและการปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

แนวทางในการดำเนินการเพื่อการปรับตัว

การสนับสนุนอย่างเร่งด่วนในเรื่องการปรับตัว ทั้งในเรื่อง Technology และ การเงิน

การเงินจะต้องเพิ่มเติมจากที่เป็นอยู่ และเพิ่มเติมจาก ODA

การประเมินผลจะประเมินอะไร อย่างไร เช่นจะประเมินความก้าวหน้าในกิจกรรมการปรับตัว หรือ ประเมินการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วที่ให้เพื่อการปรับตัว

การส่วเสริมด้านสถาบันองค์กรเพื่อดูแลงานด้านการปรับตัว ทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และระหว่างประเทศ

ประเด็นความเชื่อมโยงผลกระทบจากโลกร้อนและความเสี่ยงจากภัยพิบัติธรรมชาติ

 

ใช้วิทยาศาสตร์เป็นตัวกำหนดระดับการปลดปล่อยที่คาดหวังโดยรวมของประเทศ Annex I โดยเสนอเป้าหมายของ aggregate ในระดับ 40% ภายในปี 2020 โดยคิดจากปี 1990 เป็นปีฐาน

การเจรจาควรตั้งอยู่บนความรับผิดชอบในอดีต (historical responsibility) และหลักการรับผิดชอบร่วมกันแต่ในระดับที่แตกต่าง

ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการลดของภาคเกษตรและภาคการบิน

REDD การนำ REDD เป็นส่วนหนึ่งของ NAMA หรือไม่

การพิจารณา ระดับอ้างอิง และ MRV ทำที่ Copenhagen?

การใช้เทคโนโลยี มาตรการการดำเนินงานในการลดGHGs ของประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา การศึกษาวิจัย การพัฒนาศักยภาพ และกลไกทั้งด้านการตลาด และที่ไม่ใช่การตลาด ในการลดการปล่อยก๊าซในแต่ละภาคส่วน

เรื่อง sectoral approach ได้ให้ความสำคัญในภาคเกษตรกรรม และภาคขนส่งทางอากาศและทางทะเล

การเร่งรัดด้านกลไกทา

การเงินทั้งเพือการลดการปล่อยและการปรับตัว จำนวน การตรวจวัด<span style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: &#




--
ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
blog
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.ksmecare.com/docSeminar/520902031848987.pdf
http://www-01.ibm.com/software/th/events/lotusliveevent/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm

วันพฤหัสบดีที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552

20 สิ่งที่เราอาจจะไม่เคยรู้


วันพุธ ที่ 30 กันยายน 2552
20เรื่องเหลือเชื่อเรื่องวิทยาศาสตร์
Posted by เด็กส่งข่าว , ผู้อ่าน : 101 , 22:16:08 น.  
หมวด : วิทยาศาสตร์/ไอที

พิมพ์หน้านี้


20 สิ่งที่เราอาจจะไม่เคยรู้

1.เส้นเลือดในร่างกายมนุษย์มีความยาวรวม 62,000 ไมล์ ถ้านำมันมาเรียงต่อกันเป็นทางยาวจะได้ความยาว ถึง 2.5 เท่าของเส้นรอบวงโลก

2. The Great Barrier Reef (แนวปะการังที่ยาวทีสุดในโลกบริเวณออสเตรเลีย) เป็นโครงสร้างสิ่งมีชีวิตที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีความยาวกว่า 2000 กิโลเมตร

3. โอกาสที่โลกจะถูกโจมตีด้วยอุกาบาตขนาดใหญ่ อยู่ที่ 9300 ปีต่อครั้ง

4. ดาวนิวตรอนขนาดเท่าหัวแม่มือมีน้ำหนักกว่า 100 ล้านตัน

5. พายุเฮอริเคนหนึ่งลูกผลิตพลังงานเท่ากับระเบิดขนาด 1 เมกะตันจำนวน 8000 ลูก

6. คาดว่ามีพยาธิปากขอ ซึ่งดูดเลือดเป็นอาหารอยู่ในร่างกายมนุษย์โลกเรา 700 ล้านคน

7. Fred Rompelberg คือผู้ขี่จักรยานด้วยความเร็วที่สุดในโลกด้วยความเร็ ว 166.94 ไมล์ต่อชั่วโมง

8. มนุษย์เราสามารถคิดค้นแสงเลเซอร์ที่มีความสว่างกว่าแ สงอาทิตย์ 1 ล้านเท่า

9. 65% ของผู้ป่วยออทิสติคส์ เป็นคนถนัดซ้าย

10. Finnish pine tree (ต้นสนชนิดหนึ่งในฟินแลนด์) มีความยาวของรากแต่ละต้นรวมแล้วกว่า 30 ไมล์

11. จำนวนเกลือที่อยู่ในน้ำทะเลทั่วโลกเรา สามารถปกคลุมพื้นผิวทวีปทั่วโลกได้หนากว่า 500 ฟุต

12. กลุ่มแก๊สระหว่างหมู่ดาวในราศีธนู มีส่วนประกอบของแอลกอฮอล์นับหมื่นล้านล้านลิตร

13. หมีขั้วโลกสามารถวิ่งด้วยความเร็ว 25 ไมล์ต่อชัวโมง และกระโดดได้สูงกว่า 6 ฟุต

14. มนุษย์และปลาโลมาสืบสายพันธ์เดียวกันมาตั้งแต่ 60 - 65 ล้านปีก่อน

15. กล้อง infared จับภาพหมีขั้วโลกได้ยากมาก เนื่องจากคุณสมบัติของขนของมัน

16. เฉลี่ยแล้วในหนึ่งปี คนเราจะกินสัตว์จำพวกเห็บลิ้นไร โดยไม่ได้ตั้งใจไป 430 ตัวต่อคนต่อปี

17. รากของต้น Rye(ข้าวชนิดหนึ่งใช้หมักสุรา) สามารถแผ่ขยายไปได้ถึง 400 ไมล์

18. อุณหภูมิบนพื้นผิวของดาวพุธสูงกว่า 430 องศาเซลเซียสในเวลากลางวัน แต่ลดลงต่ำกว่า ติดลบ 180 องศาเซลเซียสในเวลากลางคืน

19. ภายใน 24 ชั่วโมง ต้นโอ๊กขนาดใหญ่ขับน้ำ(ในรูปของไอน้ำ)ออกมา 10 - 25 แกลลอน

20. ผีเสื้อรับรู้รสด้วยขาหลังของมัน โดยประสาทการรับรู้ทำงานโดยการสัมผัส ทำให้มันรู้ว่าใบไม้และดอกไม้ที่มันสัมผัส มีรสชาติอย่างไรและกินได้หรือไม่

ที่มา : prasitporn

http://www.oknation.net/blog/deksendsnews/2009/09/30/entry-7
--
      Weblink
seminar
http://ilaw.or.th
www.patani-conference.net
http://www.thaihof.org
http://thainetizen.org
http://www.ictforall.org
http://elibrary.nfe.go.th
http://www.thaisara.com
http://www.rmutr.ac.th
http://www.bedo.or.th/default.aspx
http://weblogcamp2009.blogspot.com
http://seminarmon.blogspot.com
http://seminartue.blogspot.com
http://seminarwed.blogspot.com
http://seminarthu.blogspot.com
http://seminarfri.blogspot.com
http://seminarsat.blogspot.com
http://seminar1951.blogspot.com
http://seminardd.com
www.ipthailand.org