วันอาทิตย์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ข่าวโลกร้อน 4 ต.ค. (ความคืบหน้าในเวทีเจรจายูเอ็น)



 

ครึ่งทาง  การเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (4 ต.ค.2552) 

  1. ก่อนการเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (เพื่อสำหรับทำความเข้าใจเร็ว ๆ ถ้าจะใช้งานต้องปรับคำ)
 
ข้อตกลงนานาชาติ ความหมายอย่างเร็ว ๆ 
อนุสัญญาฯ โลกร้อน 2535

UNFCCC

-โลกร้อนวิกฤตแล้ว นักวิทยาศาสตร์ยืนยัน

-มีผลกระทบหนักและจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ต่อทั้งโลกและคน

-เกิดเพราะเราปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงขึ้นเรื่อยๆ

-เราทั้งโลกตกลงจะร่วมกันหยุดยั้งแก้ไขวิกฤตนี้ โดยมีหลักการที่สำคัญคือความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่แตกต่าง และตามศักยภาพและความสามารถที่มี

พิธีสารเกียวโต 2540

Kyoto Protocol

-ด้วยการตั้งเป้าลดการปล่อยก๊าซฯ 5.2 %จากระดับ 2533 ภายในปี 2551-2555

-ให้ประเทศพัฒนาแล้ว (Annex I) ต้องลดก๊าซก่อนเป็นหลัก(เพราะปล่อยมากในอดีตเป็นตัวการใหญ่ต่อวิกฤตตอนนี้)

-มีกลไกช่วยลดการปล่อย CDM, JI, ET

-เนื้อหา 4 ประเด็นหลัก การลดก๊าซ (mitigation) การปรับตัวรับมือต่อโลกร้อน (Adaptation) กลไกทางการเงินที่จะช่วยเร่งการลด (Finance)และการช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีและสร้างความเข้มแข็ง (Technology Transfer & Capacity Building)

แผนที่นำทางบาหลี  2550

Bali Road Map

- แนวทางการเจรจาเพื่อนำไปสู่ข้อตกลงใหม่หลังช่วงพันธกรณีแรกของพิธีสารเกียวโดตจบลง

- CDM, JI, ET ได้ผลไหม มีปัญหาไง ปรับแก้ไง

-แล้วหลังปี 2555 จะทำไง (ตั้งเป้าใหม่ หรือจะหาข้อตกลงใหม่)

-จะคุยกันต่อนะกำหนด 5 ครั้งเฉพาะในปี 52 เพื่อสรุปให้ได้ที่โคเปนเฮเกน

-ตั้ง 2 คณะทำงานรองรับ  (AWG)

คณะทำงานเรื่องพิธีสารเกียวโต

(AWG-KP)

คณะทำงานดูทิศทางระยะยาว

(AWG-LCA แบ่งงานออกเป็น 5 ส่วน)

-วิสัยทัศน์ระยะยาว

-การปรับตัวรับโลกร้อน

-การลดก๊าซ

-การเงิน

-เทคโนโลยีและการเสริมสร้างศักยภาพ

-AWG-KP ดูว่าจะทำไงกับพิธีสารเกียวโตดี ใช้ต่อแล้วตั้งเป้าเพิ่ม หรือหาพิธีสาร(ข้อตกลง)ใหม่เลย  

-AWG-LCA ดูว่าประเด็นหลัก 5 ด้าน ควรจะทำอย่างไรดี

เวทีเจรจาโลกร้อน 2551 -2 คณะทำงาน AWG เจรจา ต่อเนื่อง เพื่อรับข้อเสนอของแต่ละภาคี แล้วรวบรวมเป็น text
เวทีเจรจาโลกร้อน 2552 บอนน์ 1 - เจรจาต่อ จนสามารถสรุปเอกสารที่บรรจุประเด็นที่ทุกคน  (ประเทศภาคีสมาชิก) ต้องการใส่เสร็จ อันไหนที่เห็นต่างกันให้วงเล็บทิ้งไว้ก่อน
บอนน์ 2
บอนน์ 3
กรุงเทพ ***(กันยายน-ตุลาคม) - เอาเอกสารที่เต็มด้วยวงเล็บดังกล่าวมาเริ่มเจรจากันว่าจะถอดวงเล็บแล้วใช้คำไหน  ให้ได้มากที่สุด  เหลือหน้าน้อยที่สุด
บาร์เซโลน่า -เจรจา  ถอดวงเล็บต่อ และพยายามให้เหลือหน้าน้อยสุด สรุปโดยไม่มีวงเล็บเหลือในจำนวนหน้าน้อยสุด สำหรับการตัดสินใจ
โคเปนเฮเกน (ธันวาคม) ผู้นำประเทศมารวมกันดูเอกสารจากบาร์เซโลน่า และตัดสินใจว่า จะลดวิกฤตโลกร้อนหลังหมดพันธะสัญญาเกียวโตปี 2555 จะทำไง (ถ้าใช้พิธีสารเกียวโตต่อระยะสองจะตั้งเป้าเท่าไร ใครจะทำ ใช้กลไกอะไร หรือไม่เอาจะหาพิธีสารใหม่แทน)

*** ดูรายละเอียดข้อ 2 
 
 

2. เวทีเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ – จากวันแรก ถึงครึ่งทาง (แบ่งห้องเจรจาออกเป็น 6 ส่วนหลัก) 

 
 
 
ความคืบหน้า 
 
 
การเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (28 ก.ย.-9 ต.ค. 52)
คณะทำงานด้าน

พิธีสารเกียวโต 

AWG-KP

คณะทำงาน

ด้านทิศทางระยะยาว 

AWG-LCA

วิสัยทัศน์

Shared vision

การปรับตัวรับมือ

Adaptation

การลดก๊าซ

Mitigation

กลไกการเงิน

Finance

ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ

Tech Transfer & Capacity Building

จำนวนหน้าเอกสารเจรจา  28 ก.ย. - 15 36 63 22 34
4 ต.ค. - 15 36 63 22 34
ปริมาณวงเล็บ 

(1-5 ดาวตามความมาก)

28 ก.ย. - **** **** ***** *** ****
4 ต.ค. - **** **** ***** *** ****
ประเด็นเนื้อหาที่คาดว่าต้องเจรจาหนัก 28 ก.ย. -ตัวเลขปริมาณการลดของประเทศพัฒนาแล้วระยะกลาง (2020) และระยะยาว (2050) ใช้ปีอะไรเป็นปีฐาน ระยะเวลาของพัธกรณี ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน
4 ต.ค. -ตัวเลขปริมาณการลดของประเทศพัฒนาแล้วระยะกลาง  (2020) และระยะยาว (2050) ใช้ปีอะไรเป็นปีฐาน ระยะเวลาของพัธกรณี ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน ยังไม่ชัดเจน
การดำเนินการหลัก  ๆ ตั้งแต่ที่ผ่านมา (ดูข้อ 3 ประกอบ) -ปริมาณการลดการปล่อยในช่วงพันธกรณีจากประเทศพัฒนาแล้ว

Mandate ของการเจรจา ซึ่งต้องไม่รวมใช่การผลักดันให้ประเทศกำลังพัฒนามามีส่วนร่วมในการลดแบบภาคบังคับด้วย

ความพยายามจากประเทศพัฒนาแล้วเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาที่ปล่อสูงมาร่วมลดการปล่อยด้วย

การกำหนดเป้าหมายรวมในการลดการปล่อย  ทั้งในระดับความเข้มข้นของก๊าซ  และอุณหภูมิ

ความเร่งด่วนในการดำเนินการลด

การส่งเสริมบรรยากาศในการเอื้อให้ประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการลดและการปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวทางในการดำเนินการเพื่อการปรับตัว

การสนับสนุนอย่างเร่งด่วนในเรื่องการปรับตัว  ทั้งในเรื่อง Technology และ การเงิน

การเงินจะต้องเพิ่มเติมจากที่เป็นอยู่  และเพิ่มเติมจาก ODA

การประเมินผลจะประเมินอะไร อย่างไร เช่นจะประเมินความก้าวหน้าในกิจกรรมการปรับตัว หรือ ประเมินการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วที่ให้เพื่อการปรับตัว

การส่วเสริมด้านสถาบันองค์กรเพื่อดูแลงานด้านการปรับตัว ทั้งในระดับประเทศ  ภูมิภาค และระหว่างประเทศ

ประเด็นความเชื่อมโยงผลกระทบจากโลกร้อนและความเสี่ยงจากภัยพิบัติธรรมชาติ

ใช้วิทยาศาสตร์เป็นตัวกำหนดระดับการปลดปล่อยที่คาดหวังโดยรวมของประเทศ Annex I โดยเสนอเป้าหมายของ aggregate ในระดับ 40% ภายในปี 2020 โดยคิดจากปี 1990 เป็นปีฐาน

การเจรจาควรตั้งอยู่บนความรับผิดชอบในอดีต (historical responsibility) และหลักการรับผิดชอบร่วมกันแต่ในระดับที่แตกต่าง

ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการลดของภาคเกษตรและภาคการบิน

REDD การนำ REDD เป็นส่วนหนึ่งของ NAMA หรือไม่

การพิจารณา  ระดับอ้างอิง และ MRV ทำที่ Copenhagen?

การใช้เทคโนโลยี มาตรการการดำเนินงานในการลดGHGs ของประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา การศึกษาวิจัย การพัฒนาศักยภาพ และกลไกทั้งด้านการตลาด และที่ไม่ใช่การตลาด ในการลดการปล่อยก๊าซในแต่ละภาคส่วน

เรื่อง  sectoral approach ได้ให้ความสำคัญในภาคเกษตรกรรม และภาคขนส่งทางอากาศและทางทะเล

การเร่งรัดด้านกลไกทา

การเงินทั้งเพือการลดการปล่อยและการปรับตัว จำนวน การตรวจวัด

เงินต้องมาจากภาครัฐเป็นหลัก

การกำจัดอุปสรรคต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี เช่น IPRs

ความร่วมมือและเสริมสร้างศักยภาพทั้งในเรื่องการดำเนินการทั้งด้านการลดการปล่อย  การปรับตัว และการประเมินศักยภาพ

การมุ่งสู่การเติบโตแบบคาร์บอนต่ำ (Low carbon growth)

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

3. ประเด็นการเจรจาหลัก 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 

 
1.คณะทำงานด้านพิธีสารเกียวโต
-ปริมาณการลดการปล่อยในช่วงพันธกรณีจากประเทศพัฒนาแล้ว

-Mandate ของการเจรจา ซึ่งต้องไม่รวมการผลักดันให้ประเทศกำลังพัฒนามามีส่วนร่วมในการลดแบบภาคบังคับด้วย

-ความพยายามจากประเทศพัฒนาแล้วเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาที่ปล่อสูงมาร่วมลดการปล่อยด้วย

2. วิสัยทัศน์

Shared vision

-การกำหนดเป้าหมายรวมในการลดการปล่อย ทั้งในระดับความเข้มข้นของก๊าซ และอุณหภูมิ

-ความเร่งด่วนในการดำเนินการลด

-การส่งเสริมบรรยากาศในการเอื้อให้ประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการลดและการปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. การปรับตัวรับมือ

Adaptation

-แนวทางในการดำเนินการเพื่อการปรับตัว

-การสนับสนุนอย่างเร่งด่วนในเรื่องการปรับตัว ทั้งในเรื่อง Technology และ การเงิน

-การเงินจะต้องเพิ่มเติมจากที่เป็นอยู่ และเพิ่มเติมจาก ODA

-การประเมินผลจะประเมินอะไร อย่างไร เช่นจะประเมินความก้าวหน้าในกิจกรรมการปรับตัว หรือ ประเมินการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วที่ให้เพื่อการปรับตัว

-การส่งเสริมด้านสถาบันองค์กรเพื่อดูแลงานด้านการปรับตัว ทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และระหว่างประเทศ

-ประเด็นความเชื่อมโยงผลกระทบจากโลกร้อนและความเสี่ยงจากภัยพิบัติธรรมชาติ

4. การลดก๊าซ

Mitigation

-ใช้วิทยาศาสตร์เป็นตัวกำหนดระดับการปลดปล่อยที่คาดหวังโดยรวมของประเทศ Annex I โดยเสนอเป้าหมายของ aggregate ในระดับ 40% ภายในปี 2020 โดยคิดจากปี 1990 เป็นปีฐาน

-การเจรจาควรตั้งอยู่บนความรับผิดชอบในอดีต (historical responsibility) และหลักการรับผิดชอบร่วมกันแต่ในระดับที่แตกต่าง

ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการลดของภาคเกษตรและภาคการบิน

-REDD การนำ REDD เป็นส่วนหนึ่งของ NAMA หรือไม่

-การพิจารณา ระดับอ้างอิง และ MRV ทำที่ Copenhagen?

-การใช้เทคโนโลยี มาตรการการดำเนินงานในการลดGHGs ของประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา การศึกษาวิจัย การพัฒนาศักยภาพ และกลไกทั้งด้านการตลาด และที่ไม่ใช่การตลาด ในการลดการปล่อยก๊าซในแต่ละภาคส่วน

-เรื่อง sectoral approach ได้ให้ความสำคัญในภาคเกษตรกรรม และภาคขนส่งทางอากาศและทางทะเล

5. กลไกการเงิน

Finance

-การเร่งรัดด้านกลไกทางการเงินทั้งเพือการลดการปล่อยและการปรับตัว จำนวน การตรวจวัด

-เงินต้องมาจากภาครัฐเป็นหลัก

6. ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ

Tech Transfer & Capacity Building

-การกำจัดอุปสรรคต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี เช่น ทรัพย์สินทางปัญญา

-ความร่วมมือและเสริมสร้างศักยภาพทั้งในเรื่องการดำเนินการทั้งด้านการลดการปล่อย การปรับตัว และการประเมินศักยภาพ

-การมุ่งสู่การเติบโตแบบคาร์บอนต่ำ (Low carbon growth)





 
From: sataya phongsasumitr <satayap@hotmail.com>
Date: ต.ค. 4, 2009 4:32 หลังเที่ยง
Subject: ข่าวโลกร้อน 4 ต.ค. (ความคืบหน้าในเวทีเจรจายูเอ็น)
To: 
 

ครึ่งทาง การเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (4 ต.ค.2552)

 

  1. ก่อนการเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (เพื่อสำหรับทำความเข้าใจเร็ว ๆ ถ้าจะใช้งานต้องปรับคำ)

 

ข้อตกลงนานาชาติ

ความหมายอย่างเร็ว ๆ

อนุสัญญาฯ โลกร้อน 2535

UNFCCC

 

-โลกร้อนวิกฤตแล้ว นักวิทยาศาสตร์ยืนยัน

-มีผลกระทบหนักและจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ต่อทั้งโลกและคน

-เกิดเพราะเราปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงขึ้นเรื่อยๆ

-เราทั้งโลกตกลงจะร่วมกันหยุดยั้งแก้ไขวิกฤตนี้ โดยมีหลักการที่สำคัญคือความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่แตกต่าง และตามศักยภาพและความสามารถที่มี

พิธีสารเกียวโต 2540

Kyoto Protocol

-ด้วยการตั้งเป้าลดการปล่อยก๊าซฯ 5.2 %จากระดับ 2533 ภายในปี 2551-2555

-ให้ประเทศพัฒนาแล้ว (Annex I) ต้องลดก๊าซก่อนเป็นหลัก(เพราะปล่อยมากในอดีตเป็นตัวการใหญ่ต่อวิกฤตตอนนี้)

-มีกลไกช่วยลดการปล่อย CDM, JI, ET

-เนื้อหา 4 ประเด็นหลัก การลดก๊าซ (mitigation) การปรับตัวรับมือต่อโลกร้อน (Adaptation) กลไกทางการเงินที่จะช่วยเร่งการลด (Finance)และการช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีและสร้างความเข้มแข็ง (Technology Transfer & Capacity Building)

แผนที่นำทางบาหลี  2550

Bali Road Map

- แนวทางการเจรจาเพื่อนำไปสู่ข้อตกลงใหม่หลังช่วงพันธกรณีแรกของพิธีสารเกียวโดตจบลง

- CDM, JI, ET ได้ผลไหม มีปัญหาไง ปรับแก้ไง

-แล้วหลังปี 2555 จะทำไง (ตั้งเป้าใหม่ หรือจะหาข้อตกลงใหม่)

-จะคุยกันต่อนะกำหนด 5 ครั้งเฉพาะในปี 52 เพื่อสรุปให้ได้ที่โคเปนเฮเกน

-ตั้ง 2 คณะทำงานรองรับ (AWG)

คณะทำงานเรื่องพิธีสารเกียวโต

(AWG-KP)

คณะทำงานดูทิศทางระยะยาว

(AWG-LCA แบ่งงานออกเป็น 5 ส่วน)

-วิสัยทัศน์ระยะยาว

-การปรับตัวรับโลกร้อน

-การลดก๊าซ

-การเงิน

-เทคโนโลยีและการเสริมสร้างศักยภาพ

-AWG-KP ดูว่าจะทำไงกับพิธีสารเกียวโตดี ใช้ต่อแล้วตั้งเป้าเพิ่ม หรือหาพิธีสาร(ข้อตกลง)ใหม่เลย

 

-AWG-LCA ดูว่าประเด็นหลัก 5 ด้าน ควรจะทำอย่างไรดี

เวทีเจรจาโลกร้อน 2551

-2 คณะทำงาน AWG เจรจา ต่อเนื่อง เพื่อรับข้อเสนอของแต่ละภาคี แล้วรวบรวมเป็น text

เวทีเจรจาโลกร้อน 2552

บอนน์ 1

- เจรจาต่อ จนสามารถสรุปเอกสารที่บรรจุประเด็นที่ทุกคน (ประเทศภาคีสมาชิก) ต้องการใส่เสร็จ อันไหนที่เห็นต่างกันให้วงเล็บทิ้งไว้ก่อน

บอนน์ 2

บอนน์ 3

กรุงเทพ ***(กันยายน-ตุลาคม)

- เอาเอกสารที่เต็มด้วยวงเล็บดังกล่าวมาเริ่มเจรจากันว่าจะถอดวงเล็บแล้วใช้คำไหน ให้ได้มากที่สุด เหลือหน้าน้อยที่สุด

บาร์เซโลน่า

-เจรจา ถอดวงเล็บต่อ และพยายามให้เหลือหน้าน้อยสุด สรุปโดยไม่มีวงเล็บเหลือในจำนวนหน้าน้อยสุด สำหรับการตัดสินใจ

โคเปนเฮเกน (ธันวาคม)

ผู้นำประเทศมารวมกันดูเอกสารจากบาร์เซโลน่า และตัดสินใจว่า จะลดวิกฤตโลกร้อนหลังหมดพันธะสัญญาเกียวโตปี 2555 จะทำไง (ถ้าใช้พิธีสารเกียวโตต่อระยะสองจะตั้งเป้าเท่าไร ใครจะทำ ใช้กลไกอะไร หรือไม่เอาจะหาพิธีสารใหม่แทน)

*** ดูรายละเอียดข้อ 2

 

 

 

2. เวทีเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ จากวันแรก ถึงครึ่งทาง (แบ่งห้องเจรจาออกเป็น 6 ส่วนหลัก)

 

 

 

 

ความคืบหน้า

 

 

 

 

การเจรจาโลกร้อนกรุงเทพ (28 ก.ย.-9 ต.ค. 52)

 

คณะทำงานด้าน

พิธีสารเกียวโต

 

AWG-KP

 

คณะทำงาน

ด้านทิศทางระยะยาว

 

AWG-LCA

วิสัยทัศน์

Shared vision

การปรับตัวรับมือ

Adaptation

การลดก๊าซ

Mitigation

กลไกการเงิน

Finance

ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ

Tech Transfer & Capacity Building

จำนวนหน้าเอกสารเจรจา

28 ก.ย.

-

15

36

63

22

34

4 ต.ค.

-

15

36

63

22

34

ปริมาณวงเล็บ

(1-5 ดาวตามความมาก)

28 ก.ย.

 

-

****

****

*****

***

****

4 ต.ค.

 

-

****

****

*****

***

****

ประเด็นเนื้อหาที่คาดว่าต้องเจรจาหนัก

28 ก.ย.

 

-ตัวเลขปริมาณการลดของประเทศพัฒนาแล้วระยะกลาง (2020) และระยะยาว (2050) ใช้ปีอะไรเป็นปีฐาน ระยะเวลาของพัธกรณี

 

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

4 ต.ค.

-ตัวเลขปริมาณการลดของประเทศพัฒนาแล้วระยะกลาง (2020) และระยะยาว (2050) ใช้ปีอะไรเป็นปีฐาน ระยะเวลาของพัธกรณี

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

ยังไม่ชัดเจน

การดำเนินการหลัก ๆ ตั้งแต่ที่ผ่านมา (ดูข้อ 3 ประกอบ)

-ปริมาณการลดการปล่อยในช่วงพันธกรณีจากประเทศพัฒนาแล้ว

Mandate ของการเจรจา ซึ่งต้องไม่รวมใช่การผลักดันให้ประเทศกำลังพัฒนามามีส่วนร่วมในการลดแบบภาคบังคับด้วย

ความพยายามจากประเทศพัฒนาแล้วเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาที่ปล่อสูงมาร่วมลดการปล่อยด้วย

 

การกำหนดเป้าหมายรวมในการลดการปล่อย ทั้งในระดับความเข้มข้นของก๊าซ และอุณหภูมิ

ความเร่งด่วนในการดำเนินการลด

การส่งเสริมบรรยากาศในการเอื้อให้ประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการลดและการปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

แนวทางในการดำเนินการเพื่อการปรับตัว

การสนับสนุนอย่างเร่งด่วนในเรื่องการปรับตัว ทั้งในเรื่อง Technology และ การเงิน

การเงินจะต้องเพิ่มเติมจากที่เป็นอยู่ และเพิ่มเติมจาก ODA

การประเมินผลจะประเมินอะไร อย่างไร เช่นจะประเมินความก้าวหน้าในกิจกรรมการปรับตัว หรือ ประเมินการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วที่ให้เพื่อการปรับตัว

การส่วเสริมด้านสถาบันองค์กรเพื่อดูแลงานด้านการปรับตัว ทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และระหว่างประเทศ

ประเด็นความเชื่อมโยงผลกระทบจากโลกร้อนและความเสี่ยงจากภัยพิบัติธรรมชาติ

 

ใช้วิทยาศาสตร์เป็นตัวกำหนดระดับการปลดปล่อยที่คาดหวังโดยรวมของประเทศ Annex I โดยเสนอเป้าหมายของ aggregate ในระดับ 40% ภายในปี 2020 โดยคิดจากปี 1990 เป็นปีฐาน

การเจรจาควรตั้งอยู่บนความรับผิดชอบในอดีต (historical responsibility) และหลักการรับผิดชอบร่วมกันแต่ในระดับที่แตกต่าง

ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการลดของภาคเกษตรและภาคการบิน

REDD การนำ REDD เป็นส่วนหนึ่งของ NAMA หรือไม่

การพิจารณา ระดับอ้างอิง และ MRV ทำที่ Copenhagen?

การใช้เทคโนโลยี มาตรการการดำเนินงานในการลดGHGs ของประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา การศึกษาวิจัย การพัฒนาศักยภาพ และกลไกทั้งด้านการตลาด และที่ไม่ใช่การตลาด ในการลดการปล่อยก๊าซในแต่ละภาคส่วน

เรื่อง sectoral approach ได้ให้ความสำคัญในภาคเกษตรกรรม และภาคขนส่งทางอากาศและทางทะเล

การเร่งรัดด้านกลไกทา

การเงินทั้งเพือการลดการปล่อยและการปรับตัว จำนวน การตรวจวัด<span style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: &#




--
ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
blog
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.ksmecare.com/docSeminar/520902031848987.pdf
http://www-01.ibm.com/software/th/events/lotusliveevent/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น